ReadyPlanet.com
dot dot
dot
สนใจเลี้ยงข้าว Jiewfudao
dot
bulletเลี้ยงข้าวพี่จิ๋ว คลิ้กนี้เลย
dot
สั่งซื้อหนังสือเรียนภาษาจีน jiewfudao
dot
bulletหนังสือเรียนภาษาจีนพื้นฐาน 1
bulletหนังสือเรียนภาษาจีนพื้นฐาน 2
bulletหนังสือเรียนภาษาจีนพื้นฐาน 3
bulletหนังสือเรียนภาษาจีนพื้นฐาน 4
bulletหนังสือเรียนภาษาจีนพื้นฐาน 5
bulletหนังสือภาษาจีนเพื่อการค้าสำหรับหน้าร้าน
bulletหนังสือ 200 ประโยคภาษาจีนในชีวิตประจำวัน
bulletแบบฝึกเขียนอักษรด้วยพู่กันจีน (书法)
bulletสมุดคัดคำศัพท์ภาษาจีน
bulletขั้นตอนการสั่งซือหนังสือ
dot
教你如何跟jiewfudao.com自学:แนะนำมือใหม่หัดเรียนภาษาจีนออนไลน์กับเว็บพี่จิ๋ว
dot
bulletคลิ๊กนี้ สำหรับน้องใหม่
dot
คลิปสอนภาษาจีนของ jiewfudao
dot
bulletภาษาจีนพื้นฐาน 1
bulletภาษาจีนพื้นฐาน 2
bulletภาษาจีนพื้นฐาน 3
bulletภาษาจีนพื้นฐาน 4
bulletภาษาจีนพื้นฐาน 5
bulletภาษาจีนเพื่อการค้าสำหรับหน้าร้าน
dot
各种专业词汇:คำศัพท์เฉพาะประเภทต่าง ๆ
dot
bullet汉语成语:สุภาษิตจีน A-Z
bullet人与家庭词汇:หมวดมนุษย์และชีวิตในครอบครัว
bullet社会与文化词汇:หมวดสังคมและวัฒนธรรม
bullet饮食词汇 :หมวดอาหารและเครื่องดื่ม
bullet贸易专业词汇:หมวดคำศัพท์เฉพาะทางธุรกิจ
bullet其他词汇:หมวดคำศัพท์เฉพาะอื่น ๆ
dot
中国吉祥象征108 สิ่งมิ่งมงคลจีน โดย อ.ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล
dot
bulletเทพเจ้าสัญลักษณ์มงคล
bulletเครื่องหมายและเครื่องใช้มงคล
bulletอักษรมงคล
bulletสถาปัตยกรรมมงคล
bulletต้นไม้และดอกไม้มงคล
dot
เนื้อหาอื่น ๆ ที่มีประโยชน์
dot
bullet中文常用句子:ประโยคภาษาจีนที่ใช้บ่อยในวิชาชีพและสถานการณ์
bullet中国历史:ประวัติศาสตร์จีน
bullet中国文化วัฒนธรรมจีน
bullet中国地理ภูมิศาสตร์จีน
bullet准备祭祀食物及金纸:จัดโต๊ะไหว้-พับกระดา
bullet中国结:เรียนถักเชือกจีนกับ..พี่อั้ม
bullet中医(泰) แพทย์แผนจีนและสุขภาพ(บทความภาษาไทย)
bullet中国节日:ประเพณีและเทศกาลจีน
bullet中国古代服饰与发式:ทรงผมจีนโบราณ
bullet中文求职: ภาษาจีนสำหรับการสมัครงาน
dot
好内容与网站:เว็บไซด์ที่มีประโยชน์
dot
bullet华侨崇圣大学:มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
bulletเรียนภาษาจีนธุรกิจผ่านเเล็กเชอร์กับ น้องตั๊ก
bullet笔顺 ลำดับขีด
bullet中英词典与翻译:พจนานุกรม / แปลภาษา
bullet中医(中)แพทย์แผนจีน(ภาษาจีน)
bullet中国历史朝代:ลำดับราชวงศ์จีน
bullet成语故事:นิทานคติจีน
bullet台湾汉语水平考试:ทดสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนของไต้หวัน
bullet练习听力:ฝึกฟังภาษาจีน
bullet听小说:ฝึกฟังผ่านนวนิยายจีน
bullet画画儿:หัดวาดภาพจีน
bullet游戏:เล่นเกมจีน-จีน
bullet拼音游戏:เกมพินอิน
dot
友情链接:เว็บเพื่อนบ้าน
dot
bulletwww.milesiam.org
bulletศูนย์จีนศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
bulletโรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย
bulletโรงเรียนสตรีระนอง
bulletโรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา
bulletโรงเรียนราชินีบูรณะ
bulletโรงเรียนพิมายวิทยา จ.นครราชสีมา
dot
โฆษณาสนับสนุน jiewfudao.com
dot
bulletK79 รับแลกเงินเรทดีกว่าธนาคาร
bulletบริิการรับส่งสินค้าด้วยรถสิบล้อ
bulletรับแลกเปลี่ยน โอนเงินตราทุกสกุล


หนังสือ jiewfudao
http://www.k79exchange.com/


汉字 : ตัวอักษรจีน article

วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม 2556 www.jiewfudao.com

         ตัวอักษรจีนเป็นหนึ่งในตัวอักษรที่เก่าแก่ที่สุดในโลก และยังเป็นตัวอักษรที่ คนใช้มากที่สุดในโลกเช่นเดียวกัน จำนวนของตัวอักษรจีนมีมากกว่า 6 หมื่นตัว ในนี้มีตัวอักษรที่ใช้บ่อย 6000 ตัว ตัวอักษรจีนมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีต้นกำเนิดมาจากการจดบันทึกรูปภาพ ตัวอักษรจีนที่เก่าแก่ที่สุดที่ได้ขุดค้นพบ ในขณะนี้คือ "เจี๋ยกู่เหวิน甲骨文" ซึ่งเป็นตัวอักษรที่มีอายุมากกว่า 3400 ปีมาแล้วและ ยังถือเป็นตัวอักษรที่สมบูรณ์มาก

                        

                                           อักษรบนกระดองเต่า เจี๋ยกู่เหวิน 甲骨文

               รูปลักษณะของตัวอักษรจีนตั้งแต่อดีตจนมาถึงปัจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก จากเดิมที่เป็นตัวอักษรภาพได้กลายเป็นตัวอักษรสี่เหลี่ยมที่ใช้ขีด ประกอบกันขึ้น ดังนั้น โดยทั่วไปแล้วจึงเรียกตัวอักษรจีนว่า "ฟางไคว้เหวินจื้อ方块字" (ตัวอักษรสี่เหลี่ยม) ซึ่งได้ วิวัฒนาการมาจาก "เจี๋ยกู่เหวิน  "  "จินเหวิน金文อักษรที่ถูกค้นพบบนเครื่อง ทองเหลืองโบราณ ถูกค้นพบตอนปลายสมัยราชวงศ์ซาง"  "เสี่ยวจว้น小篆 เป็นอักษรมาตรฐานสมัยราชวงศ์จิ้น"   "ลี่ซู隶书 อักษรมาตรฐานในสมัยราชวงศ์ฮั่น" "ไข่ซู楷书 อักษรมาตรฐานสมัยราชวงศ์ฮั่นเช่นกัน" เป็นต้น

                     

                             ฟางไคว้เหวินจื้อ方块字" (ตัวอักษรสี่เหลี่ยม) 

 

          

                                      จินเหวิน金文 อักษรบนเครื่องทองเหลือง

                               

       เสี่ยวจว้น小篆 อักษรสมัยราชวงศ์จิ้น              ลี่ซู隶书 อักษรมาตรฐานในสมัยราชวงศ์ฮั่น  

                                 

                                        ไข่ซู楷书 อักษรมาตรฐานสมัยราชวงศ์ฮั่น


วิธีการสร้างตัวอักษรจีนที่สำคัญมี 4 วิธี ดังต่อไปนี้

1 "เซี่ยงสิง象形" เป็นวิธีสร้างตัวอักษรที่วาดรูปเลียนแบบตามรูปร่างลักษณะ ของสิ่งต่าง ๆ  เช่น "月" เขียนคล้ายกับรูปพระจันทร์โค้ง ๆ
                                   

 
2 "จื้อซื่อ指事" เป็นวิธีการสร้างตัวอักษรโดยการเติมสัญลักษณ์หรือเครื่องหมาย ให้กับตัว "เซี่ยงสิง" หรืออาจจะสร้างสัญลักษณ์ขึ้นใหม่เลย เช่น “刃 เยิ้น” เติมจุด ให้กับ(刀 เตา หมายถึงมีด) บอกถึงตำแหน่งนั้นเป็นตำแหน่งที่มีคมมีดอยู่ จึงหมายความว่าคมมีด
             
   วิวัฒนาการตัวอักษร 刀 ที่แปลว่ามีด  เติมจุด ให้กับ(刀 ) บอกถึงตำแหน่งนั้นเป็นตำแหน่งที่มีคมมีดอยู่ จึงหมายความว่าคมมีด


3 "ฮุ่ยอี้会意" คือการเอาเครื่องหมายสองอันหรือมากกว่ามารวมประกอบเข้าไว้ ด้วยกัน เป็นวิธีที่แสดงถึงความหมายใหม่แบบหนึ่ง เช่น “明” เป็นการเอา “日” (พระอาทิตย์) กับ “月”(พระจันทร์)มารวมกันพระอาทิคย์กับพระจันทร์รวมกัน ก็แปลว่าแสงสว่าง
    
    “明” เป็นการเอา “日” (พระอาทิตย์) กับ “月”(พระจันทร์)มารวมกันพระอาทิคย์กับพระจันทร์รวมกัน ก็แปลว่าแสงสว่าง


4 " สิงเซิง形声" เป็นการใช้ส่วนที่บอกความหมาย(สิงผาง)กับส่วนที่บอกเสียง อ่าน(เซิงผาง)มาประกอปกันเป็นตัวอักษรใหม่ เช่น “湖”ส่วนที่บอกความหมายคือ   ภาษาจีนกลางเรียกว่าตัว "ซานเตี่ยนสุ่ย" จะบอกได้ว่าหากมีตัวนี้จะเกี่ยวข้อง กับน้ำ  “胡”เป็นตัวบอกเสียงอ่านว่า "หู"  เมื่อมารวมกันจะหมายถึงแม่น้ำหู

                        

           พันกว่าปีมานี้ ชาวจีนได้ใช้อักษรจีนแบบตัวเต็มในการเขียน แต่ตัวเต็มนี้ มีจำนวนขีดมาก ยากต่อการเรียนรู้ จดจำ และเขียน ดังนั้นเพื่อสนองความ ต้องการทางด้านการขยายการศึกษา ในปี ค.ศ.1949 เป็นต้นมารัฐบาลจีนจึง ได้กำหนดการย่อตัวอักษรจีนให้เป็นหนึ่งเดียวอย่างกว้างขวาง ปัจจุบันอักษรจีน แบบตัวย่อ 2000กว่าตัวได้เข้ามาแทนที่อักษรจีนแบบตัวเต็ม นอกจากนั้นอักษร จีนแบบตัวย่อยังเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหประชาชาติ
           ในประวัติศาสตร์นั้น ตัวอักษรจีนได้เคยถูกประเทศเกาหลี  ญี่ปุ่น เวียดนาม ยืมไปใช้เป็นเวลานาน ดังนั้นตัวอักษรจีนจึงได้แพร่หลายไปทั่วโลกด้วยเสน่ห์ ที่เป็นเอกลักษณ์

อ้างอิงจาก
· หนังสือ “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน (中国文化常识)”The Overseas Chinese Affairs Office of the State Council / The Office of Chinese Language Council International.สำนักพิมพ์สุขภาพใจ
@ http://baike.soso.com/v31430.htm
@ http://ywb.nyist.edu.cn/info/1007/1056.htm
@ http://www.foundertype.com/showsortpic.php?inputword=%B0%AE%D3% DA%D7%D6%C0%EF%D0%D0%BC%E4&sid=1092&fontfile=FZXZZBJW.TTF
@ http://www.baike.com/wiki/%E9%87%91%E6%96%87
@ http://wenke.hep.edu.cn/gfhz/html/xz.asp
@ http://bulo.hujiang.com/menu/7584/item/602554/
@ http://news.liangguidong.com/SFMJ/Print.asp?ArticleID=524
@ http://www.szlnzx.com/edu/2010/4/20090602165457340.shtml
@ http://www.hao-net.com/shinjuku/blog/2011/03/
@ http://class.htu.cn/hzdam/zzff_zhishi.htm
@ http://blog.gxjiaoyan.com/?uid-2647-action-viewspace-itemid-57038
@ http://quizlet.com/13937162/lesson-34-combined-flash-cards/
@ http://commons.wikimedia.org/wiki/File:OCR-A_char_Plus_Sign.svg
@ http://baike.soso.com/v94756.htm
 
 
 

 




中国文化วัฒนธรรมจีน

中国传统思想 : 孔子 ปรัชญาดั้งเดิมของจีน ขงจื๊อ article
“四书五经”与儒家思想" ซื่อซูอู่จิง " (สี่หนังสือห้าคัมภีร์) กับแนวคิดลัทธิขงจื๊อ (หรูเจีย) article
เหล่าจวงกับปรัชญาลัทธิเต๋า 老庄与道家思想 article
中国茶 ชาจีน article
กตัญญูต่อบิตามารดา 孝敬父母 article
การทำความสะอาดช่องปากของชาวจีนสมัยโบราณ article
尊老爱幼 เคารพผู้อาวุโสและรักเมตตาเด็ก article
ไปเรียนภาษาจีน ใส่หมวกเขียวชุดเขียวแบบโกกรีน ไม่ได้จริงๆหรอ? article
5 วัฒนธรรมแดนมังกร ที่คุณต้องรู้ก่อนเยือนจีน! article



[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (151506)
avatar
Jinny

เป็นความรู้ประกอบดีมากเลยค่ะ 

ผู้แสดงความคิดเห็น Jinny วันที่ตอบ 2013-09-15 14:37:54 IP : 110.77.250.168


ความคิดเห็นที่ 2 (151509)
avatar
ploy

 ดีมากๆเลยค่ะ  ^____^

ผู้แสดงความคิดเห็น ploy (prakaythip_3-2com-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2013-09-15 16:04:10 IP : 125.27.0.150


ความคิดเห็นที่ 3 (151519)
avatar
พรจิตร

ขออนุญาติแบ่งปันนะคะ

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พรจิตร วันที่ตอบ 2013-09-26 12:34:12 IP : 171.6.83.8


ความคิดเห็นที่ 4 (176645)
avatar
丽芬

ขอบคุณค่ะ 

ผู้แสดงความคิดเห็น 丽芬 วันที่ตอบ 2018-07-19 23:53:58 IP : 49.48.242.16


ความคิดเห็นที่ 5 (177383)
avatar
โนบิตะ

 เป็นความรู้ที่ดีมาก ๆ ครับ

ผู้แสดงความคิดเห็น โนบิตะ วันที่ตอบ 2019-07-15 22:58:30 IP : 163.44.197.70



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
http://www.k79exchange.com/