เริ่มฉายวันพุธที่ 26 มกราคม 2565 www.jiewfudao.com
ปรับปรุงวันอังคารที่ 3 ตุลาคม 2566 www.jiewfudao.com
19
|
食
|
shí
|
1.นิยมสมานรวมกับคำศัพท์อื่น แปลว่า “อาหาร” 2.ภาษาหนังสือแปลว่า “รับประทาน”; “บริโภค” ดูความแตกต่างระหว่าง食กับ吃 ได้ที่หน้า 273
|
四、ความแตกต่างระหว่าง 食 กับ 吃
|
ข้อ
|
รายละเอียด
|
食
|
吃
|
1
|
ทำหน้าที่เป็นคำนาม มักจะพบเจอสมานกับคำศัพท์อื่น รวมเป็นศัพท์เฉพาะทาง แปลว่า “อาหาร”
|
/
|
-
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
他在食堂吃饭。
tā zài shítáng chīfàn.
เขากินข้าวอยู่ที่โรงอาหาร
|
妈妈带我去超市买零食。
māma dài wǒ qù chāoshì mǎi língshí.
แม่พาฉันไปซุปเปอร์มาร์เก็ตซื้อขนม(ขบเคี้ยว)
|
ตัวอย่างที่ 3
|
ตัวอย่างที่ 4
|
泰国人的主食是米饭。
Tàiguó rén de zhǔshí shì mǐfàn.
อาหารหลักของคนไทยคือข้าว
|
进食后多久开始消化?
jìnshí hòu duōjiǔ kāishǐ xiāohuà?
หลังจากรับประทานอาหาร
นานแค่ไหนถึง(จะ)เริ่มย่อย
|
หมายเหตุ : 进食jìnshí มีความหมายเดียวกันกับ进餐 jìncān เป็นภาษาหนังสือหรือภาษาทางการ แปลว่า “รับประทานอาหาร” นิยมใช้ในบริบทที่มีนัยสำคัญทางวิทยาศาสตร์หรือการวิจัย เช่น การระบุเป็นระยะเวลาที่ต้องรับประทานในช่วงเวลาที่เหมาะสม อะไรควรไม่ควรทาน เป็นต้น
ตัวอย่างที่ 1
|
进食
|
进餐
|
早餐最佳进食时间
是起床后20分钟。
zǎocān zuìjiā jìnshí shíjiān shì qǐchuáng hòu èr shí fēnzhōng.
|
早餐最佳进餐时间
是起床后20分钟。
zǎocān zuìjiā jìncān shíjiān shì qǐchuáng hòu èr shí fēnzhōng.
|
เวลาในการรับประทานอาหารที่ดีที่สุดในมื้อเช้า คือหลังลุกจากที่นอน 20 นาที
|
ตัวอย่างที่ 2
|
进食
|
进餐
|
胃不好晚上7点后不能进食。
wèi bù hǎo wǎnshàng qī diǎn hòu bù néng jìnshí.
|
胃不好晚上7点后不能进餐。
wèi bù hǎo wǎnshàng qī diǎn hòu bù néng jìncān.
|
กระเพาะไม่ดีหลัง 1 ทุ่มรับประทานอาหารไม่ได้
นัย: กระเพาะไม่ดีหลัง 1 ทุ่มไม่ควรรับประทานอาหาร
|
หมายเหตุ: 进食และ 吃饭สามารถใช้ได้ทั้งกับคนและสัตว์ ส่วน 进餐นิยมใช้กับคนไม่นิยมใช้กับสัตว์
|
ตัวอย่างบริบทใช้กับสัตว์
|
进食 แปลว่า “กินอาหาร”
|
吃饭 แปลว่า “กินข้าว”
|
最近3 周大熊猫进食不太积极,必需要检查身体。
zuìjìn sān zhōu dà xióngmāo jìnshí bú tài jījí, bì xūyào
jiǎnchá shēntǐ.
ช่วง 3 สัปดาห์นี้หมีแพนด้ากินอาหารเอื่อยๆ(ไม่ค่อยกระตือรือร้น)
จำเป็น(ที่จะ)ต้องตรวจร่างกาย
|
最近3周大熊猫吃饭不太积极,
必需要检查身体。
zuìjìn sān zhōu dà xióngmāo chīfànbú tài jījí, bì xūyào
jiǎnchá shēntǐ.
ช่วง 3 สัปดาห์นี้หมีแพนด้ากินข้าวเอื่อยๆ(ไม่ค่อยกระตือรือร้น)
จำเป็น(ที่จะ)ต้องตรวจร่างกาย
|
|
|
|
|
|
|
2
|
ทำหน้าที่เป็นคำกริยา แปลว่า; “กิน”; “รับประทาน”
|
/
|
/
|
ภาษาหนังสือ แปลว่า “บริโภค”
|
/
|
-
|
ตัวอย่างที่ 1
|
食
|
吃
|
不要多食高脂肪的食物。
bú yào duō shí
gāo zhīfáng de shíwù.
อย่าบริโภคอาหารที่มีไขมันสูงเยอะ
|
不要多吃高脂肪的食物。
bú yào duō chī
gāo zhīfáng de shíwù.
อย่ากินอาหารที่มีไขมันสูงเยอะ
|
อย่ารับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเยอะ
หมายเหตุ: 多食แปลว่า “บริโภค (รับประทาน)..เยอะ(ๆ)/เยอะมาก”
多吃แปลว่า “กิน..เยอะ(ๆ)/เยอะมาก” เวลาแปลให้ดูบริบทอีกที
|
ตัวอย่างที่ 2
|
食
|
吃
|
晚餐要少食。
wǎncān yào shǎo shí.
อาหาร(มื้อ)เย็นต้องบริโภคให้น้อย
|
晚餐要少吃。
wǎncān yào shǎo chī.
อาหาร(มื้อ)เย็นต้องกินให้น้อย
|
อาหาร(มื้อ)เย็นต้องรับประทานให้น้อย
หมายเหตุ: 少食แปลว่า “บริโภค (รับประทาน)..น้อย(ๆ)”
少吃แปลว่า “กิน..น้อย(ๆ)” เวลาแปลให้ดูบริบทอีกที
|
|
3
|
เป็นภาษาถิ่นของบางเมืองในประเทศจีน เช่น ภาษาจีนกลางตุ้ง ในมณฑลกวางตุ้ง(广东Guǎngdōng) ภาษาของเมืองจูจี้(诸暨Zhūjì) มณฑลเจ้อเจียง
(浙江Zhèjiāng ) เป็นต้น แปลว่า “กิน”
|
/
|
ภาษาจีนกลาง
|
ตัวอย่าง
|
ภาษาจีนกลาง
|
ภาษาจีนกวางตุ้ง
|
你吃饭(了)没有? nǐ chīfàn (le) méiyǒu?
|
你食饭未? nǐ shífàn wèi?
|
เธอกินข้าว(แล้ว)รึยัง
|
|
20
|
一家人
|
yì jiā rén
|
ครอบครัว(เดียวกัน)
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
我们是一家人。
wǒmen shì yì jiā rén.
พวกเราเป็นครอบครัวเดียวกัน
|
简单的幸福, 就是一家人围坐在一起吃饭。
jiǎndān de xìngfú,
jiù shì yì jiā rén wéizuò zài yìqǐ chīfàn.
ความสุขที่เรียบง่าย ก็คือครอบครัวนั่งล้อมวงกินข้าวด้วยกัน
|
|
|
21
|
极其
|
jíqí
|
สุด ๆ ; มาก ๆ
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
他是(一)个对工作极其负责的人。
tā shì (yí) gè duì gōngzuò
jíqí fùzé de rén.
เขาเป็นคนที่รับผิดชอบต่องานสุดๆ /มาก ๆ (คนหนึ่ง)
|
我极其喜欢这本小说。
wǒ jíqí xǐhuan
zhè běn xiǎoshuō.
ฉันชอบนวนิยายเล่มนี้สุด ๆ /มากๆ
|
ระดับของคำว่า “มาก” ของภาษาจีน
|
น้อย มากสุด
|
很
|
十分
|
非常
|
极其
|
|
|
|
22
|
平衡
|
pínghéng
|
สมดุล(กัน) ; เท่ากัน; “ทรงตัว”
|
ตัวอย่าง แปลว่า “สมดุล”
|
ตัวอย่าง แปลว่า
“สมดุล(กัน)”; “เท่ากัน”
|
听说飞机一定要飞上一万米的高空
才可以保持平衡。
tīngshuō fēijī yídìng yào fēi shàng yí wàn mǐ de gāokōng cái kěyǐ bǎochí pínghéng.
ได้ยินมาว่าเครื่องบินจะต้องบินบนอากาศที่สูง 10,000เมตร ถึงจะสามารถรักษาสมดุลได้
|
我爸爸得了耳水
不平衡。
wǒ bàba dé le ěr shuǐ
bù pínghéng.
พ่อฉันป่วยเป็น(โรค)น้ำในหูไม่สมดุล(กัน)/ไม่เท่ากัน
|
ตัวอย่าง แปลว่า “ทรงตัว”
|
今天走路时突然失去平衡, 差点摔倒, 不知道怎么回事!
jīntiān zǒu lù shí tūrán shīqù pínghéng, chàdiǎn shuāidǎo,
bù zhīdào zěnme huí shì !
วันนี้ขณะที่เดินอยู่จู่ ๆ ก็(สูญ)เสียการทรงตัว เกือบจะหกล้ม ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น!
|
|
|
23
|
其实
|
qíshí
|
จริง ๆ แล้ว; อันที่จริง(แล้ว); (อัน)ที่จริงแล้ว
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
其实我不是那样的人。
qíshí wǒ búshì
nàyàng de rén.
จริง ๆ แล้ว / อันที่จริง(แล้ว)/ (อัน)ที่จริงแล้ว ฉันไม่ใช่คนแบบนั้น
|
其实我不喜欢喝酒, 但是我喜欢喝醉的感觉。
qíshí wǒ bù xǐhuan hē jiǔ, dànshì wǒ xǐhuan hē zuì de gǎnjué.
จริงๆ แล้ว / อันที่จริง(แล้ว)/ (อัน)ที่จริงแล้ว
ฉันไม่ชอบดื่มเหล้า แต่ฉันชอบความรู้สึกตอนเมา
|
|
24
|
握
|
wò
|
ใช้กับบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้มือ แปลว่า “จับ”; “กุม”
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
握手是一种打招呼的方式。
wòshǒu shì yì zhǒng
dǎzhāohu de fāngshì.
การจับมือ(เชคแฮนด์)เป็นรูปแบบการทักทายอย่างหนึ่ง
|
他开枪自杀, 死了手里还握着枪。
tā kāiqiāng zìshā,
sǐ le shǒu lǐ hái wò zhe qiāng.
เขายิงตัว(เอง)ตาย
ตายแล้วในมือยังจับ(กุม)ปืนอยู่
|
ตัวอย่าง 握住แปลว่า “จับ/กุม..(เอา)ไว้”; “จับ/กุม..ไว้(อยู่)”; “จับ/กุม..(เอา)ไว้อยู่”
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
你紧紧握住我的手啊。
nǐ jǐnjǐn wò zhù wǒ de shǒu a.
เธอจับ/กุมมือฉัน(เอา)ไว้แน่น ๆ นะ
|
他用手握住杯子。
tā yòng shǒu wò zhù bēizi.
เขาใช้มือจับแก้วเอาไว้/(เอา)ไว้อยู่
|
|
|
25
|
资源
|
zīyuán
|
ทรัพยากร
|
ตัวอย่างที่ 1
|
ตัวอย่างที่ 2
|
地球上的自然资源还能用多久?
dìqiú shàng de zìrán zīyuán hái néng yòng duōjiǔ?
ทรัพยากรธรรมชาติบนโลกยังสามารถใช้ได้อีกนานเท่าไหร่(นานแค่ไหน)
|
日本的渔业资源丰富, 民众吃鱼较多。
Rìběn de yúyè zīyuán fēngfù,mínzhòng chī yú jiào duō.
ทรัพยากรประมงของประเทศญี่ปุ่นอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านกินปลาค่อนข้างเยอะ
|
|
|
26
|
两端
|
liǎngduān
|
ใช้กับบริบทที่พูดถึงส่วนปลายหัวท้ายของสรรพสิ่ง แปลว่า “ปลายทั้งสอง(ข้าง)” ; “หัวและปลาย”; “หัวและท้าย”
|
ตัวอย่างที่ 1
|
她把线的两端结起来。 tā bǎ xiàn de liǎngduān jié qǐ lái.
เขาเอาปลายทั้งสองข้างของเส้นด้ายผูกขึ้นมา
|
ตัวอย่างที่ 2
|
日本筷子通常是筷尾粗重,筷头尖细,筷子两端也极其不平衡。
Rìběn kuàizi tōngcháng shì kuài wěi cū zhòng, kuài tóu jiānxì,
kuàizi liǎngduān yě jíqí bù pínghéng.
ตะเกียบญี่ปุ่นโดยทั่วไปมักจะเป็น(แบบ)หางตะเกียบหนาและหนัก
ปลายตะเกียบแหลมเล็ก หางและปลายของตะเกียบก็ไม่เท่ากันสุด ๆ
หมายเหตุ: บริเวณหางตะเกียบ ผู้รู้บางท่านแปลว่า “หัวตะเกียบ”; “ท้ายตะเกียบ” ดังนั้นชื่อเรียกไม่มีผิดหรือถูกในมุมของการสื่อสาร อยู่ที่จริตและประสบการณ์ในการพูดของ
คนไทยค่ะ
|
|